ภาพปก | ชื่อบทความหรือสื่อ/ข้อมูลและรายละเอียด | เข้าชม |
---|---|---|
จิตรกรรมสีน้ำ เพื่ออนุรักษ์โบราณสถานในภาคอีสานคำอธิบาย ในภาคอีสาน มีโบราณสถานที่สำคัญที่ควรศึกษา การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยสร้างสรรค์ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่ออนุรักษ์โบราณสถานในภาคอีสาน 2) เพื่อสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมสีน้ำ และเผยแพร่ต่อสาธารณชน...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: รศ.ดร.เดชา ศิริภาษณ์ โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-03 11:12:55.000 อ่านต่อ... |
42 | |
เปรียบเทียบผ้าพื้นถิ่น แขวงจำปาสัก สปป.ลาว กับจังหวัดอุบลราชธานี: มิติทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นคำอธิบาย การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นมาของผ้าพื้นถิ่น ในแขวงจำปาสัก กับจังหวัดอุบลราชธานี และศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างผ้าพื้นถิ่น แขวงจำปาสักกับจังหวัดอุบลราชธานีโดยการ...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: ผศ.ดร.คเณศ ศีลสัตย์, นางสาวอรวรรณ เพชรนาค, นางสาวสุคนธรจ นาดี โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-03 11:03:52.000 อ่านต่อ... |
33 | |
การเปรียบเทียบธรรมมาสน์แขวงจำปาสัก สปป.ลาว กับจังหวัดอุบลราชธานี: มิติทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นคำอธิบาย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เปรียบเทียบธรรมาสน์แขวงจำปาสัก สปป.ลาว กับจังหวัดอุบลราชธานี : มิติทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา 1) ประวัติความเป็นมาธรรมาสน์ แ...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: รศ.จุมพล ราชวิจิตร, นายคำพันธ์ ยะปะตัง, นางสาวเพชรมณียา ชุมชิต,นางสาวจันทิมา เพชร โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-03 10:57:34.000 อ่านต่อ... |
32 | |
การเปรียบเทียบศิลปกรรมแขวงจำปาสัก สปป.ลาว กับจังหวัดอุบลราชธานี: มิติทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นคำอธิบาย การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบประวัติความเป็นมา วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของการสร้างผลงานศิลปกรรมแขวงจำปาสัก สปป.ลาวกับจังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย โดยทำการศึกษาข้อมูลทั้งภา...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: รศ.ดร.เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, รศ.ดร.นิยม วงศ์พงษ์คำ, รศ.จุมพล ราชวิจิตร, ผศ.ดร.คเณศ ศีลสัตย์, รศ.เดชา ศิริภาษณ์, ดร.สุเนตร โพธิสาร, อ.ชุติมา เมฆวัน โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-03 10:44:40.000 อ่านต่อ... |
32 | |
เปรียบเทียบพระไม้ แขวงจำปาสัก สปป.ลาว กับจังหวัดอุบลราชธานี: มิติทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นคำอธิบาย การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นมาของพระไม้ ในแขวงจำปาสัก กับจังหวัดอุบลราชธานี และศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างพระไม้ แขวงจำปาสักกับจังหวัดอุบลราชธานีโดยการศึกษานี้จะ...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: นิยม วงศ์พงษ์คำ, กิตติสันต์ ศรีรักษา, คมสัน เหมือนชาติ, พงศักดิ์ อัครพิทยอำพน, สถาปนันท์ พรหมสันเที้ยะ โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-02 14:10:23.000 อ่านต่อ... |
33 | |
เปรียบเทียบธาตุ แขวงจำปาสัก สปป.ลาว กับจังหวัดอุบลราชธานี: มิติทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นคำอธิบาย การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นมาธาตุบุคคลในแขวงจำปาสัก กับจังหวัดอุบลราชธานี และศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างธาตุบุคคลแขวงจำปาสักกับจังหวัดอุบลราชธานีโดยการศึกษานี้จ...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: เดชา ศิริภาษณ์, อนุชิต โรจนชีวินสุภร, สังคม สีวิไล โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-02 14:03:10.000 อ่านต่อ... |
29 | |
เปรียบเทียบเฮือนพื้นถิ่น แขวงจำปาสัก สปป.ลาว กับจังหวัดอุบลราชธานี: มิติทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นคำอธิบาย การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาประวัติเฮือนพื้นถิ่นเมืองจำปาสัก กับจังหวัดอุบลราชธานี และเพื่อศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างเฮือนพื้นถิ่น ในจำปาสัก กับจังหวัดอุบลราชธานี โดยการ...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: ดร.สุเนตร โพธิสาร, นายกิตติสันต์ ศรีรักษา, นายทัศน์ไท พลมณี โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-01 13:12:53.000 อ่านต่อ... |
28 | |
การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาของที่ระลึก โดยมีแนวคิดจากรูปทรงไดโนเสาร์ ที่ค้นพบในจังหวัดขอนแก่นคำอธิบาย งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาของที่ระลึกโดยมีแนวคิดจากรูปทรงไดโนเสาร์ ที่ค้นพบในจังหวัดขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์3ข้อ คือ 1)เพื่อศึกษาความเป็นมา ของเผ่าพันธุ์...โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-01 13:11:40.000 อ่านต่อ... |
35 | |
การออกแบบเลขนศิลป์ เพื่อส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้าน ประเภท “ หม่า” อำเภอพล จังหวัดขอนแก่นคำอธิบาย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ การออกแบบเลขนศิลป์เพื่อส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้านประเภท “ หม่ำ” อ.พล จ.ขอนแก่น หม่ำเป็นผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้านที่ขึ้นชื่อของท้องถิ่น ถือเป็นหนึ่งในเอกลักษณ...โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-01 13:10:37.000 อ่านต่อ... |
34 | |
กลองยาวบ้านหนองขาม อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์คำอธิบาย งานวิจัยเรื่องนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษา 1. ประวัติความเป็นมาและผลงานของวงกลองยาวคณะบ้านหนองขาม อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ 2. เครื่องดนตรีและอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงวงกลองยาว บ้านหนองขาม อำเภอยางตล...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: หิรัญ จักรเสน โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-01 13:08:53.000 อ่านต่อ... |
26 | |
การออกแบบผลิตภัณฑ์เก้าอี้คำอธิบาย โครงการพัฒนาบุคลากรด้านผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ประจำปี 2551...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: ดวงจันทร์ นาชัยสินธุ์ โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-01 13:07:49.000 อ่านต่อ... |
20 | |
วาดฟ้อนชาวไทดำในประเทศไทยคำอธิบาย งานวิจัยนี้ มุ่งที่จะศึกษาอัตลักษณ์และการเปลี่ยนแปลงวาดฟ้อนชาวไทดาในประเทศไทย กรณีศึกษาบ้านนาป่าหนาด อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย บ้านหนองตาเขียว อาเภอบางระกา จังหวัดพิษณุโลก และบ้านหนองเลา อาเภอเขาย้อย จ...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: ศราวดี ภูชมศรี โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-01 13:04:51.000 อ่านต่อ... |
21 | |
บทสวดไตรสรณคมน์อาเซียนคำอธิบาย โครงการสร้างสรรค์ทัศนศิลป์จากบทสวดไตรสรณคมน์อาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวอักษรของบทสวดไตรสรณคมน์บทแรกของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาในอาเซียน เพื่อสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมร่วมสมัยทั้งหมด 7 ชิ้น โด...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: คเณศ ศีลย์สัตย์ โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-01 13:03:37.000 อ่านต่อ... |
23 | |
การสร้างสรรค์พัฒนาหัตถกรรมจักสานสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงพาณิชย์ด้วยแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์คำอธิบาย การพัฒนาผลิตภัณฑ์กับการนาใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ โดยการการนาองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว สร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์สู่ตลาดให้กว้างมากขึ้น ทั้งกลุ่มเ...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: ดวงจันทร์ นาชัยสินธุ์ โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-01 13:02:12.000 อ่านต่อ... |
20 | |
อาลัยแด่อนาคตคำอธิบาย รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการสร้างสรรค์ "อาลัยแด่อนาคต" ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนการสร้างสรรค์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ 2555...ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ: นายรณภพ เตชะวงศ์ โพสโดย: Administrator เมื่อ: 2018-10-01 13:00:42.000 อ่านต่อ... |
24 | |
โครงการวิจัย สุดสะแนน-สาวะถี: การสร้างสรรค์การแสดงจากทุนวัฒนธรรม เพื่อเชื่อมโยงความทรงจำและคุณค่าชุมชนอีสาน กรณีศึกษา ชุมชนสาวะถี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่นโพสโดย: Administrator เมื่อ: 2019-03-22 19:51:40.000อ่านต่อ... |
26 |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง
อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002
โทร : 043-202396
โทรสาร : 043-202396
© 2021 Faculty of Fine and Applied Arts Khon Kaen University. All right reserved.